รับซ่อมโครงสร้าง ซ่อมรอยแตกร้าว

ซ่อมเสาโครงสร้าง ซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต

การเสริมโครงสร้างอาคาร ซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ คือวัสดุเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และโครงสร้างไม้ ประเภทแผ่นโพลีเมอร์คาร์บอนใยเสริม (CFRP) ที่สามารถต้านทานการเกิดสนิม เหมาะสำหรับพื้นที่ที่ต้องการรับน้ำหนักเพิ่ม โครงการที่มีการสั่นสะเทือน หรืองานซ่อมแซมโครงสร้าง สสส

ซ่อมโครงสร้าง ซ่อมเสาโครงสร้าง การซ่อมโครงสร้างเสา คาน หัก แตกร้าว ตอม่อคอนกรีตแตกหลุดหรือยุบตัว น้ำซึมตามรอนแตกร้าวของโครงสร้าง เหล็กเสริมภายในเป็นสนิม

ซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต

คาร์บอนไฟเบอร์ซ่อมโครงสร้าง คาร์บอนไฟเบอร์ซ่อมแซมโครงสร้าง ระบบเสริมกำลังโครงสร้างด้วยคาร์บอนไฟเบอร์

ซ่อมโครงสร้างตึกแถว ซ่อมแซมโครงสร้างอาคาร

ซ่อมคานคอนกรีต รับซ่อมคานหัก คานแตกร้าว

รับซ่อมคานร้าว ซ่อมโครงสร้าง ตึกแถว บ้าน อาคาร

 

 

ซ่อมโครงสร้างอาคาร ซ่อมโครงสร้างเสา ซ่อมคานหัก แตกร้าว ตอม่อคอนกรีตแตกหลุดหรือยุบตัว น้ำซึมตามรอยแตกร้าวของโครงสร้าง เหล็กเสริมภายในเป็นสนิม คอนกรีตเพดานหลุดร่อนจนเห็นเหล็กเสริม แนะนำแนวทางการแก้ไข พร้อมงบประมาณในการซ่อม

คาร์บอนไฟเบอร์ Carbon-Fiber Reinforced Polymer เป็นวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยที่สามารถนำมาใช้เสริมกำลังโครงสร้างได้ ไม่ว่าจะเป็นเสริมคาน พื้น เสา พื้นไร้คาน คานลึก หรือ องค์อาคารอื่นๆ วัสดุCFRP เป็นแผ่นที่เสริมด้วยเส้นใยคาร์บอน ที่มีกำลังรับน้ำหนักสูงมาก คือมากกว่าเหล็กถึง 10 เท่า ไม่เป็นสนิม  แผ่นคาร์บอนไฟเบอร์มีลักษณะเป็นแผ่นบาง มีน้ำหนักเบา ออกแบบให้ใช้ร่วมกันกับกาวอีพอกซีเพื่อใช้เป็นตัวยึดในการติดตั้ง ให้แผ่นยึดติดกับกับโครงสร้างคอนกรีตไม่ว่าจะเป็นการเสริมคาน พื้น หรือเสา ทำให้โครงสร้างสามารถรับน้ำหนักได้สูง สามารถต้านแผ่นดินไหว นอกจากนี้ทำให้การก่อสร้างทำได้สะดวกรวดเร็ว การใช้คอนกรีตและแผ่นเหล็กในการหุ้มในงานซ่อมแซมเพื่อเสริมกำลังโครงสร้าง ทำได้ยากกว่า ใช้แรงงานและระยะเวลามากกว่า 

วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายทั่วโลกในปัจจุบัน ออกแบบตามมาตรฐานสากล ACI440 มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มาตรฐาน ACI 318 และมาตรฐานอาคารอื่นๆ  

CFRP ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ประเภทได้แก่ แบบแผ่น (Sheet) ความหนาประมาณ 0.11-0.17 มม.และแบบลามิเนท (Laminate) ความหนาประมาณ 1.2-1.4 มม. โดยแบบลามิเนทเป็นการนำแบบแผ่นบางจำนวน 5-6 ชั้นมาประสานกันด้วยอีพ็อคซี่เรซินจนเป็นแผ่นแข็งชิ้นเดียวกัน ซึ่งจะมีความสามารถรับกำลังได้ดีกว่าแบบแผ่น แต่ค่าติดตั้งก็จะสูงกว่าตามไปด้วย ดังนั้นในการใช้งาน CFRP จะต้องมีการสำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์คำนวณออกแบบโครงสร้างที่จะใช้งานจริงถึงความเหมาะสมโดยวิศวกรโครงสร้าง เพื่อให้การติดตั้ง CFRP ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และโครงสร้างอาคารมีความปลอดภัยในการใช้งานตามหลักวิศวกรรม    

1. น้ำหนักเบา ไม่เป็นภาระให้กับโครงสร้างเดิม   

2. มีขนาดเล็ก ไม่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรม   

3. ติดตั้งสะดวกและรวดเร็ว ไม่กระทบกับการใช้งานเดิม   

4. ทนทานต่อการกัดกร่อนและการสึกหรอ   

5. ทนทานต่อสารเคมี เช่น กรด-ด่าง    

6. มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน    

7. สามารถทาสีหรือปิดทับด้วยวัสดุอื่นเพื่อความสวยงามได้ 

 

CFRP Application    

1. งานซ่อมแซมโครงสร้างเดิมที่เสียหาย   

2. งานปรับปรุงเปลี่ยนแปลงต่อเติมการใช้งานโครงสร้างเดิม    

3. งานเสริมความแข็งแรงและเสริมกำลังของโครงสร้างเดิม    

4. งานแก้ไขโครงสร้างอาคารที่มีปัญหา

 

 

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ

คุณ วิษณุรักษ์ รัตนอุบล

Tel: 081-720-7519

 

บริษัท วีเทค โค๊ตติ้ง แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด 

137/24-25 หมู่ 21 ถนนนิมิตรใหม่ ตำบลลำลูกกา

อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 

Tel: 02-005-0614 

Fax: 02-005-0613 

E-mail:veetechcoating@gmail.com

https://www.ซ่อมโครงสร้าง.com


Visitors: 581,744